การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิติของบุคคล

June 9, 2018 | Author: Jariya Tonghom | Category: Documents


Comments



Description

1

การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิติของบุคคล (The development of "king science" in the dimension of the person.) Kanchit Manoonphol Jariya Tonghom [email protected] การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิติของบุคคล การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิติของ อาจารย์ครรชิต มนูญผล ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ด้าน Active Learning สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย แนวคิดหลักการ ของศาสตร์พระราชา องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา ขั้นตอนการพัฒนาศาสตร์พระราชา การวัดและ ประเมินผลศาสตร์พระราชา และบรรณานุกรม The development of "king science" in the dimension of the person. The development of "king science" in the dimension of Kanchit Manoonphol. Active Learning Specialist, Office of the Basic Education Commission Ministry of Education The concept of the king science: Elements of the King Science, steps to King's Science, development measure and evaluate the king and bibliography.

2

การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิติของบุคคล โดย ครรชิต มนูญผล และจริยา ทองหอม 07 เมษายน 2561

การพัฒนา “ศาสตร์พระราชา” ในมิติของ อาจารย์ครรชิต มนูญผล ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ด้าน Active Learning สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย แนวคิดหลักการ ของศาสตร์พระราชา องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา ขั้นตอนการพัฒนาศาสตร์พระราชา การวัดและ ประเมินผลศาสตร์พระราชา และบรรณานุกรม ดังนี้

2.1 แนวคิดหลักการของศาสตร์พระราชา อาจารย์ครรชิต มนูญผล ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ ด้าน Active Learning สานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ได้น้อมนา “ศาสตร์พระราชา” มาใช้เป็นแนวทางในการทางานตามหลักการ ทรงงานที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงทาเป็นตัวอย่างมาตลอดระยะเวลา 70 ปี ได้แก่ หลักการระเบิด จากข้างใน พึ่งตนเอง รักษาภูมิสังคม ประหยัดเรียบง่าย เป็นขั้นตอน เน้นประโยชน์คนส่วนใหญ่ เน้น การมีส่วนร่วม ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ และไม่ติดตารา มาเป็นแนวทางในการจัดอบรมครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อค้นหาทีมงานครูผู้สร้างนวัตกรรม

3

2.2 องค์ประกอบของศาสตร์พระราชา องค์ประกอบของศาสตร์พระราชาที่อาจารย์ครรชิต มนูญผลใช้ในการจัดอบรม ได้แก่ การสร้างความ ตระหนักรู้ในปัญหา สาเหตุ และหลักการสาคัญของ "ศาสตร์พระราชา" ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาไทย ด้วยการ “พาคิด พาทา ชวนออกแบบ ชวนนาเสนอ”

4

2.3 ขั้นตอนการพัฒนาศาสตร์พระราชา กระบวนการสาคัญในแต่ละขั้นตอนของการพัฒนา ศาสตร์พระราชา ได้แก่ ขั้นพาคิด: ทฤษฎีของบลูม ระดับสมองของมนุษย์ที่ต้องการและอยู่รอดในศตวรรษที่ 21 ขั้นพาทา : การวิเคราะห์เชิงเชื่อมโยง 3 มิติ ระหว่างทฤษฎีของ บลูม : ทักษะการคิดขั้นสูง Graphic Organizer : ศาสตร์พระราชา (Active Learning), ขั้นชวนออกแบบ : กิจกรรมการเรียนรู้ตามธรรมชาติรายวิชา ขั้นชวนนาเสนอ : หน่วยการเรียนรู้ /นวัตกรรม เติมเต็ม คัดเลือก ผู้มีผลงานเข้าร่วมทีมครูผู้สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้

5

2.4 การวัดและประเมินผลศาสตร์พระราชา การวัดและประเมินผลศาสตร์พระราชาดาเนินการโดยการนิเทศติดตามผลการจัดอบรม แบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ตลอดเวลาหลังอบรม รายสัปดาห์ รายเดือนหรือภาคเรียน เพื่อประเมินผลความพึงพอใจของ ผู้เกี่ยวข้องที่มีต่อการจัดอบรมและกระบวนการพัฒนาหลักสูตรโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ การประชุม สะท้อนผลการดาเนินงาน และวิเคราะห์ผลการนิเทศติดตามโดยใช้ช่องทางต่างๆ เช่น แอพฟิเคชั่นติดตามการ จัดการเรียนรู้ครูผู้สอนรายบุคคล จัดกลุ่มไลน์ จัดกลุ่ม Face Book จัดทีมนิเทศจิตอาสา สังเกตการสอนใน ชั้นเรียน สะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ใช้ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ถ่ายทา VTR นาเสนอในรายการทีวีเพื่อการศึกษา เปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนนาเสนอผล การพัฒนาผู้เรียน เช่น หน่วยการเรียนรู้ Active Learning ชุดการเรียนรู้ My Course Design ในเวทีครู ต้นแบบศาสตร์พระราชาในระดับประเทศ ทั้งนี้เพราะปัจจุบันเป็นยุคของการปฏิรูปการเรียนการสอนให้ สอดคล้องกับนโยบายการปฏิรูปการศึกษา ผู้เรียนจะต้องมีการพัฒนาตนเองและมีการเตรียมความพร้อม สาหรับการเรียนการสอนอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียนการสอนในระดับขั้นพื้นฐาน ซึ่งต้อง ปลูกฝัง ความรับผิดชอบต่อการเรียนและการพัฒนาความรู้ของตนเองอยู่เสมอ ในการจัดอบรมแต่ละครั้งจะ เป็นการอบรมที่สนุก เต็มเปี่ยมด้วยเทคนิค สาระที่ตรงประเด็น คุณครูมีความตั้งใจ กระตือรือร้น และมีส่วน ร่วมในกิจกรรมตั้งแต่ต้นจนจบ สามารถนาไปใช้ได้จริงในห้องเรียนยุค Thailand 4.0

6

2.5 บรรณานุกรม ครรชิต มนูญผล. (2560). ศาสตร์พระราชา. Power Point. ครรชิต มนูญผล. (2560). "ศาสตร์พระราชา" Active Learning สู่คุณภาพที่ยั่งยืน Thailand 4.0. จาก https://www.facebook.com/kanchit.manoonphol นนทกาล รูปเอี่ยม. (2560). ศาสตร์พระราชา (Active Learning) สู่คุณภาพการศึกษา Thailand 4.0 โรงเรียนอยุธยาวิทยาลัย สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 3. จาก http://www.obec.go.th/news/81377 จุฑาทิพย์ สุกาญจนาเศรษฐ์. (2560). โครงการพัฒนาครูต้นแบบ “ศาสตร์พระราชา” ด้วย Active Learning + Professional Learning Community (PLC) สู่คุณภาพการศึกษาที่ยั่งยืน Thailand 4.0

Copyright © 2024 DOKUMEN.SITE Inc.